รายละเอียด
มีให้เลือกทั้งรุ่นตัวถังเป็นเหล็กพ่นสีอบ และ รุ่นแสตนเลส เหมาะสำหรับงานอุตสาหกรรมที่มีประตูบานสูงใหญ่หรือที่ต้องการความแรงของลมมาก ใช้ป้องกันฝุ่น แมลง และควบคุมการไหลเวียนของอากาศ
ม่านอากาศ Super Large Wing
รุ่น GV 2009-S – 2012-S ม่านอากาศรุ่นนี้ถูกออกแบบมาให้ทนต่อการใช้งานหนักสำหรับงานอุตสาหกรรมทุกชนิด เหมาะสำหรับประตูที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร โดยมีแรงลมสูงสุด 22 เมตรต่อวินาที ซึ่งเป็นหัวรุ่นใหม่สามารถรีดลมออกด้วยการบีบตัวให้ลมแรงเป็นพิเศษนอกจากป้องกันการถ่ายเทอากาศแล้วยังสามารถป้องกันแมลงบินผ่านเข้ามาได้เป็นอย่างดี จึงได้รับความนิยมมาก
Download PDF Download PDF (TH)มีให้เลือกทั้งรุ่นตัวถังเป็นเหล็กพ่นสีอบ และ รุ่นแสตนเลส เหมาะสำหรับงานอุตสาหกรรมที่มีประตูบานสูงใหญ่หรือที่ต้องการความแรงของลมมาก ใช้ป้องกันฝุ่น แมลง และควบคุมการไหลเวียนของอากาศ
ขนาด
กว้าง900 x สูง370 x หนา 340 มม
กว้าง1200 x สูง370 x หนา 340 มม
ความแรงลมปรับได้ 1 ระดับ
Airflow Speed 22 m/s
Airflow Volume 4700 CBM/hr
น้ำหนัก 29 kg
ใช้ไฟฟ้า 380V/50Hz 3ph 720 W
ม่านอากาศ
สามารถใช่ในการป้องกันฝุ่น แมลง และ อากาศที่ปนเปื้อนเชื้อโรค ม่านอากาศเป็นตัวกลางกั้นความเย็น
หรือความร้อนได้ เกือบทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นร้านค้าที่ต้องการแยกสัดส่วนระหว่างส่วนเตรียมอาหาร และส่วนการให้บริการลูกค้าหรือ
จะเป็นการกั้นความร้อนและมลภาวะต่างๆ จากภายนอกไม่ให้เข้ามาในอาคารหรือโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไป ม่านอากาศใช้ควบคู่กับม่านริ้ว
พลาสติกได้ ซึ่งทำให้ประสิทธิภาพในการกันแมลงได้ดี แม้จะเปิดประตูทิ้งไว้และช่วยประหยัดไฟฟ้าได้ดี
ประโยชน์ของม่านอากาศ
1. รักษาอุณหภูมิภายในอาคารและป้องกันอุณหภูมิภายในไม่ให้อุณหภูมิภายนอกเข้าสู่ภายในอาคาร
2. รักษากลิ่นสะอาด ป้องกันแมลง ป้องกันฝุ่น กลิ่น เหม็นรุนแรง และสิ่งที่ปะปนมากับอากาศเข้าในอาคาร
3. ไม่ต้องใช้ผ้าม่าน สะดวกต่อลูกค้าในการเช้า-ออก ทัศนียภาพดี มีความปลอดภัย
ปัจจัยที่เพิ่มประสิทธิภาพของม่านอากาศ
1 ตำแหน่งของการติดตั้งว่าจะติดตั้งม่านอากาศอยู่ด้านในหรือด้านอาคาร
2. ความสม่ำเสมอของการไหลของอากาศเย็น (ร้อน)
3. ความสูงของช่องประตูจะสำคัญกว่าความกว้างประตู
4. จำนวนของม่านอากาศจะขึ้นอยู่กับความกว้างของประตูที่เปิด – ปิด
5. การทำงานของม่านอากาศเป็นแบบต่อเนื่องหรือไม่
6. ม่านอากาศติดตั้งทุกจุดของทางเข้าออกอาคารหรือไม่
7. ตำแหน่งของช่องระบายอากาศจะและแรงดันภายในอาคารต้องสัมพันธ์ขนาดของแรงลมของม่านอากาศที่เลือกใช้